Tagged “ห้อมเปียก”

ตัดสินใจ ดอทคอม June 28, 2017

การย้อมผ้าหม้อห้อมด้วยสีธรรมชาติ ใบของ ต้นห้อม และต้นคราม จะมีสารที่เรียกว่า อินดิแคน (Indican) ซึ่งสามารถละลายน้ำได้แต่ไม่มีสี อินดิแคนเมื่อทำปฏิกิริยากับไฮโดรเจนจะเกิดเป็นกลูโคสและสารอินโดซิล (Indoxyl) เมื่ออินโดซิลรวมตัวกับก๊าซออกซิเจนในอากาศจะเกิดเป็นสารคราม (Indigo) ในที่นี้จะเรียกว่า ห้อมเปียก หรือ ครามเปียก สารคราม (Indigo)...

ตัดสินใจ ดอทคอม June 16, 2017

ห้อมเปียก การย้อมผ้าหม้อห้อมแบบดั้งเดิมคือการย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ ฉะนั้นต้องนำ ต้นห้อม มาสกัดสีเสียก่อน การสกัดสีจาก ต้นห้อม เป็นภูมิปัญญาในการนำสารอินดิแครน (Indican) ที่มีในต้นห้อมออกมาใช้ทำสีย้อมผ้า เมื่อต้นห้อมเหมาะแก่การเก็บเกี่ยวจะถูกนำมาแปรรูปด้วยการแช่น้ำจนเน่าเปื่อยแล้วตีกับปูนขาว เพื่อให้ได้สสารข้นเป็นโคลนสีครามเรียกว่า " ห้อมเปียก " (Indigo Paste) หรือ " เปอะ "...

ตัดสินใจ ดอทคอม May 28, 2017

ต้นห้อม ห้อมและคราม เป็นพืชที่ให้สีครามเหมือนกัน แต่ยังมีต้นไม้อีกชนิดหนึ่งที่ให้สีครามเหมือนกันแต่ปัจจุบันไม่มีให้เห็นการใช้แล้วคือ ต้นเบิกหรือครามเถา ห้อมและครามเป็นพืชสองชนิดที่อยู่กันคนละชนิดและคนละวงศ์ ห้อมมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze พืชวงศ์ Acanthaceae ส่วนครามมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indigofera tinctoria L. พืชวงศ์ Leguminosae พืชล้มลุกตระกูลถั่ว...